เอกสารอ้างอิงที่น่าสนใจ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
ชฎาพร คงเพ็ชร์, อารีย์ ยมกกุล, และ เรณู อาจสาลี. (2564). การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อเป็นผู้สูงวัยสุขภาพดี. วารสารพยาบาล, 70(4), 44-51.
นวรัตน์ ไวชมภู, รัตติภรณ์ บุญทัศน์, และ นภชา สิงห์วีรธรรม. (2562). การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 3 อ. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6(2). 262-269.
อนุชา ลาวงค์, ชุติภา บุตรดีวงษ์, เสฐียรพงษ์ ศิวินา, จุไรรัตน์ แก้วพิลา, และ บุญชนะ ยี่สารพัฒน์. (2564). รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนท้องถิ่น จังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Modern Learning Development, 6(2), 268-277.
ปิยรัตน์ ยาประดิษฐ์ และ อรสา กงตาล. (2563). การพัฒนาการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลหนองสิม อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 40(3), 48-65.
สรวงสุดา เจริญวงศ์, พรทิวา คงคุณ, นิภารัตน์ จันทร์แสงรัตน์, และ เพียงตะวัน สีหวาน. (2561). สถานการณ์การดูแลและความต้องการการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในชุมชนมุสลิมเขตชนบทภาคใต้ของไทย. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(2), 231-246.
บุญทัน ดอกไธสง, บุษกร วัฒนบุตร, พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, และ พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร. (2562). กลไกการขับเคลื่อนศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุโดยบูรณาการหลักพุทธธรรม. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(1), 26-32.
อัญญา ปลดเปลื้อง, อัญชลี ศรีจันทร์, และ สัญญา แก้วประพาฬ (2560) การศึกษาวิถีชีวิตของผู้สูงอายุ: การศึกษาแบบเรื่องเล่า. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 91-104.
อัจฉริยา ปัญญาแก้ว, สุจิตรพร เลอศิลป์, และ สุภาวดี พุฒิหน่อย. (2564). ระดับพฤฒพลังและรูปแบบการใช้เวลาในกิจกรรมการมีส่วนร่วมทางสังคมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพฤฒพลัง. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(1), 177-188.